หุ่นยนต์ที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม

หุ่นยนต์อุตสาหกรรม



หุ่นยนต์อุตสาหกรรม (Industrial Robot Type) | AppliCAD Co., Ltd.
      อุตสาหกรรมในประเทศไทยจะเห็นได้ว่ามีการนำเทคโนโลยีระบบอัตโนมัติ (Automation Technology) เข้ามาใช้งานเพื่อให้สินค้าสามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ ทั้งในเรื่องราคา และคุณภาพ โดยเฉพาะในเรื่องคุณภาพ อาจเนื่องจากมีการเปลี่ยนรุ่นผลิตภัณฑ์อยู่บ่อยๆ ต้องใช้เวลาในการ Set Up ปัจจุบันจึงมีการนำเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาใช้ หนึ่งในเทคโนโลยีที่มีความยืดหยุ่นสูง ได้แก่ หุ่นยนต์อุตสาหกรรม เนื่องจากการเปลี่ยนการทำงานสามารถทำได้โดยการเปลี่ยนโปรแกรม นอกจากนี้คุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ได้มีความสม่ำเสมอเป็นมาตรฐานเดียวกัน
การทำงานของหุ่นยนต์อุตสาหกรรมจะเลียนแบบร่างกายของมนุษย์ โดยจะเลียนแบบเฉพาะส่วนของร่างกายที่จะนำไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมเท่านั้น นั่นคือช่วงแขนของมนุษย์ ดังนั้น บางคนอาจจะได้ยินคำว่า “แขนกล” ซึ่งก็หมายถึงหุ่นยนต์อุตสาหกรรม การทำงานของหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเปรียบเทียบกับแขนมนุษย์ 

  หุ่นยนต์เก็บกู้วัตถุระเบิด


  หุ่นยนต์เก็บกู้วัตถุระเบิด
วัตถุประสงค์
1. ลดควำมเสี่ยงและควำมสูญเสียต่อผู้ปฏิบัติงำนเก็บกู้และท ำลำยวัตถุระเบิด 
2. เพิ่มประสิทธิภำพในกำรปฏิบัติงำนเก็บกู้และท ำลำยวัตถุระเบิด
3. ลดค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดซื้อและน ำเข้ำอุปกรณ์ที่มีรำคำแพง
 เป้ำหมำย 
1. จัดสร้ำงหุ่นยนต์ซึ่งท ำหน้ำที่เก็บกู้และท ำลำยวัตถุระเบิดซึ่งสำมำรถปฏิบัติ ภำรกิจแทนมนุษย์ได้จริง
2. หุ่นยนต์ที่จัดสร้ำงสำมำรถสนับสนุนภำรกิจเก็บกู้และท ำลำยวัตถุระเบิดและ สนับสนุนกำรปฏิบัติให้หน่วยงำนต่ำงๆได้ 

หุ่นยนต์ที่มีสิริลักษณ์เหมือนมนุษย์

หุ่นยนต์ในยุคปัจจุบัน
          ปัจจุบันหุ่นยนต์ถูกผลิตมาเพื่อมุ่งเน้นให้ทำงานในระดับอุตสาหกรรมเป็นหลัก โดยที่การใช้หุ่นยนต์ในภาคอุตสาหกรรม มีข้อดีคือ ได้งานที่ละเอียด แม่นยำ ถูกต้องตรงกับ
ความต้องการมากกว่าการใช้แรงงานคน เหมาะกับงานที่อันตราย เสี่ยงภัย หรือเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพ ซึ่งเป็นข้อจำกัดที่ทำให้ไม่สามารถใช้แรงงานคนมาทำแทนได้ รวมทั้งการ
ใช้แรงงานจากหุ่นยนต์มักจะทำให้งานเสร็จเรียบร้อยอย่างรวดเร็วมากกว่าแรงงานคน ด้วยอัตราเร็วที่เท่าๆ กันทุกรอบการทำงาน เป็นต้น นอกจากนี้ก็จะมีหุ่นยนต์ที่ถูกผลิตมา
เพื่อทำภารกิจที่สำคัญของแต่ละองค์กรโดยเฉพาะ เช่น หุ่นยนต์สำรวจพื้นที่ หุ่นยนต์กู้ภัย ซึ่งก็พบได้น้อยกว่าเมื่อเทียบกับหุ่นยนต์ในภาคอุตสาหกรรม

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

เทคโนโลยีการสื่อสาร

ประวัติส่วนตัว

วิชาคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม